myRSS by MyReadyWeb.com http://www.myreadyweb.com/ ข้อมูลล่าสุดของสินค้า en-us ฟรี!! เว็บสำเร็จรูป สร้างเว็บ ทําเว็บ สร้างเว็บไซต์ ทําเว็บไซต์ รับทําเว็บไซต์ ทำเว็บ การสร้างเว็บไซต์ http://www.myreadyweb.com/ http://www.myreadyweb.com/images/front/logo-print.jpg 240 66 ทําเว็บ สร้างเว็บ ด้วยสุดยอดระบบ เว็บสำเร็จรูป การสร้างเว็บไซต์ ทําเว็บไซต์ จะเป็นเรื่องง่ายๆ ฟรี สร้างเว็บ ทำเว็บ สร้างเว็บไซต์ ที่ MyReadyWeb.com เทพจำแลง http://f-going.myreadyweb.com/product/detail-150187.html <img alt="" src="http://f-going.myreadyweb.com/storage_upload/9/43019/uploads/images/98989.jpg" style="width: 720px; height: 260px; float: left;" /><br /> <img alt="" src="http://f-going.myreadyweb.com/storage_upload/9/43019/uploads/images/444(1).jpg" style="width: 460px; height: 600px;" /><br /> <span style="color: rgb(40, 40, 40); font-size: 24px; line-height: 38.400001525878906px; font-family: 'cordia new', sans-serif;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;<span style="color: rgb(0, 0, 255);">เทพจำแลงคืออะไร</span></span><span style="color: rgb(40, 40, 40); font-family: Arial, Helvetica, sans-serif; font-size: 24px; line-height: 38.400001525878906px;">&nbsp;&nbsp;</span><span style="color: rgb(40, 40, 40); font-size: 24px; line-height: 38.400001525878906px; font-family: 'cordia new', sans-serif;">เทพจำแลงถูกสร้างขึ้นครั้งแรกในโลก เมื่อปี พ.ศ.&nbsp;</span><span style="color: rgb(40, 40, 40); font-family: Arial, Helvetica, sans-serif; font-size: 24px; line-height: 38.400001525878906px;">2543&nbsp;</span><span style="color: rgb(40, 40, 40); font-size: 24px; line-height: 38.400001525878906px; font-family: 'cordia new', sans-serif;">โดยท่านครูบากฤษณะ ได้รังสรรค์ไว้ ด้วยสติปัญญาอันเหนือล้ำ ของท่าน และได้ให้แง่คิดอันเป็นอุเทศ และมีนัยสำคัญ ท่านได้พูดไว้ว่า&nbsp;</span><span style="color: rgb(40, 40, 40); font-family: Arial, Helvetica, sans-serif; font-size: 24px; line-height: 38.400001525878906px;">&ldquo;</span><span style="color: rgb(40, 40, 40); font-size: 24px; line-height: 38.400001525878906px; font-family: 'cordia new', sans-serif;">ฉันอยู่ในพระพุทธศาสนาก็จริงอยู่แต่ฉันไม่เลียนแบบพระพุทธเจ้า</span><span style="color: rgb(40, 40, 40); font-family: Arial, Helvetica, sans-serif; font-size: 24px; line-height: 38.400001525878906px;">&nbsp;&nbsp;</span><span style="color: rgb(40, 40, 40); font-size: 24px; line-height: 38.400001525878906px; font-family: 'cordia new', sans-serif;">เพราะบางครั้งเราอาจพกพาพระเครื่องในรูปเคารพพระพุทธเจ้าไปในที่ไม่เหมาะสม</span><span style="color: rgb(40, 40, 40); font-family: Arial, Helvetica, sans-serif; font-size: 24px; line-height: 38.400001525878906px;">&nbsp;</span><span style="color: rgb(40, 40, 40); font-size: 24px; line-height: 38.400001525878906px; font-family: 'cordia new', sans-serif;">พระพุทธเจ้าทรงเน้นพระธรรม คำสั่งสอน</span><span style="color: rgb(40, 40, 40); font-family: Arial, Helvetica, sans-serif; font-size: 24px; line-height: 38.400001525878906px;">&nbsp;&nbsp;</span><span style="color: rgb(40, 40, 40); font-size: 24px; line-height: 38.400001525878906px; font-family: 'cordia new', sans-serif;">เอาไปปฏิบัติมากกว่าฉันจึงทำรูปเทพออกมาเป็นเครื่องเคารพให้ถือไป</span><span style="color: rgb(40, 40, 40); font-family: Arial, Helvetica, sans-serif; font-size: 24px; line-height: 38.400001525878906px;">&rdquo;</span> <h2 style="font-style:italic;"><span style="color: rgb(40, 40, 40); font-size: 24px; font-style: normal; line-height: 38.400001525878906px; font-family: 'cordia new', sans-serif;"><span style="color: rgb(255, 0, 0);">วัตถุมงคลเทพจำแลงนี้&nbsp;</span>เมื่อได้นำไปอธิษฐานใช้ ด้วยความศรัทธาก็เกิดเหตุการณ์ปาฏิหารย์ เกิดขึ้น ทำให้ประสบผลสำเร็จในชีวิตอย่างไม่น่าเชื่อเฉกเช่นเทพเจ้าประทานพระพรอันบริสุทธิ์ให้ทำให้หน้าที่การงานเจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็วอย่างบอกไม่ถูก กิจการค้าขายดีชีวิตเปลี่ยนไปในทางที่ควรจะเป็น</span><span style="color: rgb(40, 40, 40); font-family: Arial, Helvetica, sans-serif; font-size: 24px; font-style: normal; line-height: 38.400001525878906px;">&nbsp;&nbsp;</span><span style="color: rgb(40, 40, 40); font-size: 24px; font-style: normal; line-height: 38.400001525878906px; font-family: 'cordia new', sans-serif;">แม้ว่าเราอาจจะไม่ชอบแต่สุดท้ายกลับเป็นผลดีในอนาคต เป็นเรื่องที่น่าแปลกใจอย่างยิ่งมีเงินทองให้ใช้ไม่ขาดมือ เกิดผลเร็วดังสโลแกนที่ผู้ที่ใช้แล้วสำเร็จทั้งหลายได้กล่าวไว้ดังนี้</span><span style="color: rgb(40, 40, 40); font-family: Arial, Helvetica, sans-serif; font-size: 24px; font-style: normal; line-height: 38.400001525878906px;">&nbsp; &ldquo;</span><span style="font-family: Arial, Helvetica, sans-serif; font-size: 24px; font-style: normal; line-height: 38.400001525878906px; color: rgb(255, 0, 0);"><span style="font-family: 'cordia new', sans-serif;">ใครได้บูชาเทพจำแลงแล้ว</span>&nbsp;&nbsp;<span style="font-family: 'cordia new', sans-serif;">จะไม่อด ไม่อยาก ไม่ยาก ไม่จน ไม่ต่ำกว่าคน และไม่จนกว่าใคร</span></span><span style="color: rgb(40, 40, 40); font-family: Arial, Helvetica, sans-serif; font-size: 24px; font-style: normal; line-height: 38.400001525878906px;">&rdquo;&nbsp;&nbsp;</span><span style="color: rgb(40, 40, 40); font-size: 24px; font-style: normal; line-height: 38.400001525878906px; font-family: 'cordia new', sans-serif;">นี้จึงเป็นที่มาว่าทำไมเทพจำแลงจึงดังไปไกลถึงต่างแดน อย่างรวดเร็ว</span></h2> Sun, 27 Jul 2014 16:22:00 +0700 วิิธีรักษา โรคไต http://f-going.myreadyweb.com/product/detail-150189.html <h2 style="font-style:italic;"><img alt="" src="http://f-going.myreadyweb.com/storage_upload/9/43019/uploads/images/989ggg.jpg" style="float: left; height: 273px; width: 720px;" /></h2> &nbsp; <table border="0" bordercolor="#111111" cellpadding="0" cellspacing="0" id="AutoNumber4" style="font-family: 'Times New Roman'; border-collapse: collapse; background-color: rgb(151, 193, 242);" width="100%"> <tbody> <tr> <td valign="top" width="100%"> <table border="0" bordercolor="#111111" cellpadding="0" cellspacing="0" id="AutoNumber5" style="border-collapse: collapse;" width="100%"> <tbody> <tr> <td valign="top" width="20%"> <table border="0" bordercolor="#111111" cellpadding="0" cellspacing="0" id="AutoNumber14" style="border-collapse: collapse;" width="50"> <tbody> <tr> <td width="100%">&nbsp;</td> </tr> </tbody> </table> </td> <td valign="top" width="20%"> <table border="0" bordercolor="#111111" cellpadding="0" cellspacing="0" id="AutoNumber11" style="border-collapse: collapse;" width="447"> <tbody> <tr> <td width="100%"> <h2 align="left" style="line-height: 24px; margin-top: 0px;"><font face="MS Sans Serif"><span class="style123"><strong><font color="#0000CC"><u>โรคไต</u>&nbsp;</font><span lang="th">&nbsp;</span></strong></span><span lang="th">คือค</span>วามผิดปกติทางพยาธิสภาพ<span lang="th">&nbsp;</span>ข<span lang="th">อง</span>ไต<span lang="th">&nbsp;</span>ในการทำงานเพื่อขับของเสียออกจากร่างกายและรักษาความสมดุลของเกลือและน้ำในร่างกายคนเรา โรคไตมีหลายประเภทดังนี้</font></h2> <ul> <li> <h3 style="font-style: italic;"><font face="MS Sans Serif">โรคไตวายฉับพลันจากเหตุต่างๆ</font></h3> </li> <li> <h3 style="line-height: 24px;"><font face="MS Sans Serif">โรคไตวายเรื้อรังเกิดตามหลังโรคเบาหวาน โรคไตอักเสบ โรคความดันโลหิตสูง โรคเก๊าท์</font></h3> </li> <li> <p style="line-height: 24px;"><font face="MS Sans Serif">โรคไตอักเสบเนโฟรติก</font></p> </li> <li> <p style="line-height: 24px;"><font face="MS Sans Serif">โรคไตอักเสบจากภาวะภูมิคุ้มกันสับสน (โรค เอส.แอล.อี.)</font></p> </li> <li> <p style="line-height: 24px;"><font face="MS Sans Serif">โรคติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ</font></p> </li> <li> <p style="line-height: 24px;"><font face="MS Sans Serif">โรคถุงน้ำที่ไต (Polycystic Kidney Disease)</font></p> </li> </ul> </td> </tr> </tbody> </table> </td> </tr> </tbody> </table> </td> </tr> </tbody> </table> <table border="0" bordercolor="#111111" cellpadding="0" cellspacing="0" id="AutoNumber15" style="font-family: 'Times New Roman'; border-collapse: collapse; background-color: rgb(151, 193, 242);" width="100%"> <tbody> <tr> <td width="33%"> <table border="0" bordercolor="#111111" cellpadding="0" cellspacing="0" id="AutoNumber21" style="border-collapse: collapse;" width="100%"> <tbody> <tr> <td colspan="2" width="100%"><u><strong><font color="#0000CC" face="MS Sans Serif" size="3">ไตทำหน้าที่อะไร</font></strong></u></td> </tr> <tr> <td width="4%">&nbsp;</td> <td width="96%">&nbsp;</td> </tr> <tr> <td width="4%">&nbsp;</td> <td width="96%"><font face="MS Sans Serif"><font size="3">1. กำจัดของเสีย</font>ที่เกิดขึ้นในร่างกายและน้ำส่วนเกินทิ้ง<span lang="th">&nbsp;</span>ซึ่งทำให้เลือดสะอาด</font></td> </tr> <tr> <td width="4%">&nbsp;</td> <td width="96%"> <p style="margin-top: 5px;"><font face="MS Sans Serif">2.&nbsp;<font size="3">ดูดซึม&nbsp; และเก็บสารที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกาย</font></font></p> </td> </tr> <tr> <td width="4%">&nbsp;</td> <td width="96%"> <p style="margin-top: 5px;"><font face="MS Sans Serif">3.&nbsp;<font size="3">รักษาสมดุลน้ำของร่างกาย</font></font></p> </td> </tr> <tr> <td width="4%">&nbsp;</td> <td width="96%"> <p style="margin-top: 2px;"><font face="MS Sans Serif">4. รักษาระดับเกลือแร่ในเลือดให้ปกติ</font></p> </td> </tr> <tr> <td width="4%">&nbsp;</td> <td width="96%"> <p style="margin-top: 5px;"><font face="MS Sans Serif">5.&nbsp;<font size="3">รักษาสมดุลกรดด่างของร่างกาย</font></font></p> </td> </tr> <tr> <td width="4%">&nbsp;</td> <td width="96%"> <p style="margin-top: 5px;"><font face="MS Sans Serif">6.&nbsp;<font size="3">สร้างฮอร์โมน</font>หลายชนิด<span lang="th">&nbsp;เช่น สาร</span><font size="3">ควบคุมความดันโลหิต<span lang="th">,</span></font>สารสร้างเม็ดเลือดแดง<span lang="th">,สาร</span>ทำให้ไม่เกิดภาวะ</font></p> </td> </tr> <tr> <td width="4%">&nbsp;</td> <td width="96%"> <p style="margin-top: 5px;"><font face="MS Sans Serif">&nbsp;&nbsp;&nbsp; โลหิตจางและสร้างสารเสริมกระดูก ช่วยทำให้ระดับฟอสฟอรัสและแคลเซียมให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ</font></p> </td> </tr> <tr> <td width="4%">&nbsp;</td> <td width="96%"> <p style="margin-top: 5px;"><font face="MS Sans Serif">&nbsp;&nbsp;&nbsp; ในเด็กจะช่วยให้เจริญเติบโตได้ ตามวัย</font></p> </td> </tr> </tbody> </table> </td> </tr> </tbody> </table> <table border="0" bordercolor="#111111" cellpadding="0" cellspacing="0" id="AutoNumber5" style="font-family: 'Times New Roman'; border-collapse: collapse; background-color: rgb(151, 193, 242);" width="100%"> <tbody> <tr> <td valign="top" width="20%"> <table border="0" bordercolor="#111111" cellpadding="0" cellspacing="0" id="AutoNumber14" style="border-collapse: collapse;" width="50"> <tbody> <tr> <td width="100%">&nbsp;</td> </tr> </tbody> </table> </td> </tr> </tbody> </table> <table border="0" bordercolor="#111111" cellpadding="0" cellspacing="0" id="AutoNumber15" style="font-family: 'Times New Roman'; border-collapse: collapse; background-color: rgb(151, 193, 242);" width="100%"> <tbody> <tr> <td width="34%">&nbsp;</td> </tr> <tr> <td width="33%"> <table border="0" bordercolor="#111111" cellpadding="0" cellspacing="0" id="AutoNumber16" style="border-collapse: collapse;" width="50"> <tbody> <tr> <td width="100%">&nbsp;</td> </tr> </tbody> </table> <div style="font-style: italic;">&nbsp; &nbsp;&nbsp;</div> </td> <td width="33%"> <table border="0" bordercolor="#111111" cellpadding="0" cellspacing="0" id="AutoNumber17" style="border-collapse: collapse;" width="700"> <tbody> <tr> <td width="100%"><u><font color="#0000CC" face="MS Sans Serif"><span class="style123"><strong><span lang="th">สาเหตุของโรคไต</span></strong></span></font></u> <ul> <li> <p style="line-height: 24px;"><font face="MS Sans Serif">เป็นมาแต่กำเนิด (Congenital) เช่นมีไตข้างเดียว หรือไตมีขนาดไม่เท่ากัน โรคไตเป็นถุงน้ำ (Polycystic kidney disease) ซึ่งเป็น กรรมพันธุ์ด้วย เป็นต้น</font></p> </li> <li> <p style="line-height: 24px;"><font face="MS Sans Serif">เกิดจากการอักเสบ (Inflammation) เช่นโรคของกลุ่มเลือดฝอยของไตอักเสบ (glomerulonephritis)</font></p> </li> <li> <p style="line-height: 24px;"><font face="MS Sans Serif">เกิดจากการติดเชื้อ (Infection) เกิดจากเชื้อแบคทีเรียเป็นส่วนใหญ่ เช่นกรวยไตอักเสบ ไตเป็นหนอง กระเพาะปัสสาวะอักเสบ (จากเชื้อ โรค) เป็นต้น</font></p> </li> <li> <p style="line-height: 24px;"><font face="MS Sans Serif">เกิดจากการอุดตัน (Obstruction) เช่นจากนิ่ว ต่อมลูกหมากโต มะเร็งมดลูกไปกดท่อไต เป็นต้น</font></p> </li> <li> <p style="line-height: 24px;"><font face="MS Sans Serif">เนื้องอกของไต ซึ่งมีได้หลายชนิด</font></p> </li> </ul> </td> </tr> <tr> <td width="100%"> <table border="0" bordercolor="#111111" cellpadding="0" cellspacing="0" id="AutoNumber22" style="border-collapse: collapse;" width="100%"> <tbody> <tr> <td colspan="3" width="100%"><u><b><font color="#0000CC" face="MS Sans Serif" size="3">โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรค ไต</font></b></u></td> </tr> <tr> <td width="4%">&nbsp;</td> <td colspan="2" width="96%">&nbsp;</td> </tr> <tr> <td width="4%">&nbsp;</td> <td colspan="2" width="96%"><font face="MS Sans Serif">1.<font size="3">&nbsp;อายุเกิน 60 ปีขึ้นไป&nbsp;ไตย่อมเสื่อมตามธรรมชาติ เพระ</font>คนเรา อายุ 30 ปี ขึ้นไป ไตจะเสื่อมตาม</font></td> </tr> <tr> <td width="4%">&nbsp;</td> <td width="3%"> <p style="margin-top: 5px;">&nbsp;</p> </td> <td width="93%"><font face="MS Sans Serif">ธรรมชาติ ร้อยละ 1 ต่อปี<font size="3">&nbsp;</font></font></td> </tr> <tr> <td width="4%">&nbsp;</td> <td colspan="2" width="96%"> <p style="margin-top: 5px;"><font face="MS Sans Serif">2.&nbsp;<span lang="th">ค</span><font size="3">วามดันโลหิตสูง</font></font></p> </td> </tr> <tr> <td width="4%">&nbsp;</td> <td colspan="2" width="96%"> <p style="margin-top: 5px;"><font face="MS Sans Serif">3.<font size="3">&nbsp;โรคหัวใจ&nbsp;&nbsp;เช่น&nbsp;หลอดเลือดหัวใจตีบ</font></font></p> </td> </tr> <tr> <td width="4%">&nbsp;</td> <td colspan="2" width="96%"> <p style="margin-top: 5px;"><font face="MS Sans Serif">4.<font size="3">&nbsp;โรคหลอดเลือดสมอง</font></font></p> </td> </tr> <tr> <td width="4%">&nbsp;</td> <td colspan="2" width="96%"> <p style="margin-top: 5px;"><font face="MS Sans Serif">5.<font size="3">&nbsp;โรคเบาหวาน</font></font></p> </td> </tr> <tr> <td width="4%">&nbsp;</td> <td colspan="2" width="96%"> <p style="margin-top: 5px;"><font face="MS Sans Serif">6.<font size="3">&nbsp;โรคเก๊าท์</font></font></p> </td> </tr> <tr> <td width="4%">&nbsp;</td> <td colspan="2" width="96%"> <p style="margin-top: 5px;"><font face="MS Sans Serif">7.<font size="3">&nbsp;โรคไตอักเสบชนิดต่าง ๆ เช่น&nbsp;&nbsp; โรคไตอักเสบตั้งแต่วัยเด็ก&nbsp;&nbsp; ไตอักเสบ เอส-แอล &ndash;อี<span lang="th">&nbsp;&nbsp;&nbsp;</span>โรคไตเป็นถุงน้ำ</font></font></p> </td> </tr> <tr> <td width="4%">&nbsp;</td> <td colspan="2" width="96%"><font face="MS Sans Serif" size="3">&nbsp;&nbsp;&nbsp; นิ่ว&nbsp; เนื้องอก&nbsp; หลอดเลือดฝอยอักเสบ</font></td> </tr> <tr> <td width="4%">&nbsp;</td> <td colspan="2" width="96%"> <p style="margin-top: 5px;"><font face="MS Sans Serif">8.&nbsp;<font size="3">มีสมาชิกในครอบครัวเป็นโรคไต</font></font></p> </td> </tr> <tr> <td width="4%">&nbsp;</td> <td colspan="2" width="96%"> <p style="margin-top: 5px;"><font face="MS Sans Serif">9.&nbsp;<font size="3">โรคทางเดินปัสสาวะอักเสบจากการติดเชื้อ</font></font></p> </td> </tr> <tr> <td width="4%">&nbsp;</td> <td colspan="2" width="96%"> <p style="margin-top: 5px;"><font face="MS Sans Serif">10.<font size="3">ใช้ยาแก้ปวด&nbsp;&nbsp; หรือสัมผัสสารเคมีบางชนิดติดต่อกันเป็นเวลานาน</font></font></p> </td> </tr> <tr> <td width="4%">&nbsp;</td> <td colspan="2" width="96%">&nbsp;</td> </tr> <tr> <td colspan="3" width="100%"> <table border="0" bordercolor="#111111" cellpadding="0" cellspacing="0" id="AutoNumber23" style="border-collapse: collapse;" width="100%"> <tbody> <tr> <td colspan="2" width="100%"><u><strong><font color="#0000CC" face="MS Sans Serif" size="3">อาการแสดงเมื่อเป็นโรคไต</font></strong></u></td> </tr> <tr> <td width="4%">&nbsp;</td> <td width="96%">&nbsp;</td> </tr> <tr> <td width="4%">&nbsp;</td> <td width="96%"><font face="MS Sans Serif">1.&nbsp;<font size="3">หนังตา&nbsp;ใบหน้า เท้า ขา และลำตัวบว<span lang="th">ม</span></font></font></td> </tr> <tr> <td width="4%">&nbsp;</td> <td width="96%"> <p style="margin-top: 5px;"><font face="MS Sans Serif">2.&nbsp;<font size="3">ปัสสาวะผิดปกติ<span lang="th">&nbsp;</span>เช่น&nbsp;&nbsp; ขุ่น&nbsp; เป็นฟอง&nbsp; เป็นเลือด&nbsp; สีชาแก่&nbsp;&nbsp;<span lang="th">คล้ายสี</span>น้ำล้างเนื้อ</font></font></p> </td> </tr> <tr> <td width="4%">&nbsp;</td> <td width="96%"> <p style="margin-top: 5px;"><font face="MS Sans Serif">3.&nbsp;<font size="3">การถ่ายปัสสาวะผิดปกติ<span lang="th">&nbsp;</span>เช่น&nbsp;&nbsp; ปัสสาวะบ่อย&nbsp; แสบ ขัด&nbsp; ปริมาณน้อย</font></font></p> </td> </tr> <tr> <td width="4%">&nbsp;</td> <td width="96%"> <p style="margin-top: 5px;"><font face="MS Sans Serif">4.&nbsp;<font size="3">ปวดหลัง&nbsp;&nbsp;คลำได้ก้อน บริเวณไต</font></font></p> </td> </tr> <tr> <td width="4%">&nbsp;</td> <td width="96%"> <p style="margin-top: 5px;"><font face="MS Sans Serif">5.&nbsp;<font size="3">ความดันโลหิตสูง</font></font></p> </td> </tr> <tr> <td width="4%">&nbsp;</td> <td width="96%"> <p style="margin-top: 5px;"><font face="MS Sans Serif">6.&nbsp;<font size="3">ซีด&nbsp;อ่อนเพลีย&nbsp; เหนื่อยง่าย&nbsp; ไม่มีแรง&nbsp; ไม่กระฉับกระเฉง</font></font></p> </td> </tr> <tr> <td width="4%">&nbsp;</td> <td width="96%"> <p style="margin-top: 5px;"><font face="MS Sans Serif">7.&nbsp;<font size="3">ท้องอืด&nbsp;&nbsp; ท้องเฟ้อ&nbsp;&nbsp; คลื่นไส้&nbsp;&nbsp; อาเจียน</font></font></p> </td> </tr> <tr> <td width="4%">&nbsp;</td> <td width="96%"> <p style="margin-top: 5px;"><font face="MS Sans Serif">8.&nbsp;<font size="3"><span lang="th">เ</span>บื่ออาหาร&nbsp;&nbsp; การรับรสอาหารเปลี่ยนไป</font></font></p> </td> </tr> <tr> <td width="4%">&nbsp;</td> <td width="96%"> <p style="margin-top: 5px;"><font face="MS Sans Serif">9.&nbsp;<font size="3">ปวดศีรษะ&nbsp;&nbsp; นอนหลับไม่สนิท</font></font></p> </td> </tr> <tr> <td width="4%">&nbsp;</td> <td width="96%">&nbsp;</td> </tr> </tbody> </table> </td> </tr> </tbody> </table> </td> </tr> <tr> <td width="100%"> <p style="line-height: 24px;"><u><strong><font color="#0000CC" face="MS Sans Serif" size="3">อาการ<span lang="th">ของไตเสื่อม 2 ประเภท</span></font></strong></u></p> <p style="line-height: 24px;"><font face="MS Sans Serif">ปกติเมื่อคนเรา อายุ 30 ปี ขึ้นไป ไตจะเสื่อมตามธรรมชาติ ร้อยละ 1 ต่อปี<span lang="th">&nbsp;สมารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท</span></font></p> <ol> <li> <p style="line-height: 24px;"><font face="MS Sans Serif">เสื่อมอย่างรวดเร็วหรือ<span lang="th">ไต</span>หยุดการทำงานทันที เรียกว่า&nbsp;<b><font color="#0000CC">โรคไตวายเฉียบพลัน&nbsp;</font></b>ซึ่งอาจจะกลับเป็นปกติได้ ถ้าได้การรักษาที่เหมาะสม</font></p> </li> <li> <p style="line-height: 24px;"><font face="MS Sans Serif">สื่อมลงอย่างช้า ๆ และต่อเนื่อง จะทำให้ไตเกิดความผิดปกติอย่างถาวร&nbsp;<span lang="th">&nbsp;</span>เรียกว่า&nbsp;<b><font color="#0000CC">โรคไต<span lang="th">วาย</span>เรื้อรัง</font></b></font></p> </li> </ol> </td> </tr> <tr> <td width="100%"><font face="MS Sans Serif"><u><strong><font color="#0000CC"><span lang="th">เมื่อไตเสื่อม อาการของ</span>โ<span lang="th">รค</span></font><font color="#0000CC" size="3"><span lang="th">ไตแบ่งออกเป็น&nbsp; 5 ระยะ</span></font></strong></u></font></td> </tr> <tr> <td width="100%">&nbsp; <table border="0" bordercolor="#111111" cellpadding="0" cellspacing="0" id="AutoNumber20" style="border-collapse: collapse;" width="100%"> <tbody> <tr> <td width="5%">&nbsp;</td> <td width="95%"> <p style="line-height: 24px; margin-top: 8px;"><font face="MS Sans Serif"><font color="#0000CC"><u><b>ระยะที่1</b></u></font>&nbsp;จะสามารถตรวจพบความผิดปกติของไต เช่น ปัสสาวะมีตะกอนผิดปกติ แต่ไตก็ยังคงทำงานได้ปรกติในระยะนี้<span lang="th">&nbsp;</span>การดูแลรักษา<span lang="th">&nbsp;&nbsp;</span>ต้องงดสูบบุหรี่ รักษาโรคที่เป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดโรคไต อาทิ<font color="#0000CC">&nbsp;</font><b><font color="#0000CC">เบาหวาน</font></b><font color="#0000CC">&nbsp;<b>ความดันโลหิตสูง<span lang="th">,</span>โรคเอสแอลอี (ภูมิคุ้มกันผิดปกติ)&nbsp;<span lang="th">,</span>โรคเก๊าท์&nbsp;<span lang="th">,</span>นิ่วในไต&nbsp;<span lang="th">,</span>ไตอักเสบ<span lang="th">,</span>&nbsp;การติดเชื้อปัสสาวะซ้ำ ๆ</b></font></font></p> <p style="line-height: 24px;"><font face="MS Sans Serif"><font color="#0000CC"><u><b>ระยะที่ 2&nbsp;</b></u></font>ไตเริ่มทำงาน<span lang="th">ลดลง</span>&nbsp;3 ใน 4 ส่วน หรือ 60-90%<span lang="th">&nbsp;</span>การดูแลรักษา ลดปริมาณอาหารที่มีรสเค็ม</font></p> <p style="line-height: 24px;"><font face="MS Sans Serif"><u><font color="#0000CC"><b>ระยะที่ 3</b></font></u>&nbsp;ไตเริ่มทำงานลดลง 1 ใน 2 ส่วน หรือ 30-60%<span lang="th">&nbsp;</span>การดูแลรักษา&nbsp; ลดอาหารจำพวกโปรตีน</font></p> <p style="line-height: 24px;"><font face="MS Sans Serif"><u><font color="#0000CC"><b>ระยะที่ 4</b></font>&nbsp;</u>ไตเริ่มทำงาน<span lang="th">ลดลง</span>&nbsp;1 ใน 4 ส่วน หรือ 15-30%<span lang="th">&nbsp;</span>การดูแลรักษาจำกัดการบริโภคผลไม้ต่างๆ</font></p> <p style="line-height: 24px;"><font face="MS Sans Serif"><u><font color="#0000CC"><b>ระยะที่ 5</b></font></u>&nbsp;เป็น&nbsp;<b><font color="#0000CC">&#39;ระยะไตวาย&#39;&nbsp;</font></b>ซึ่งในระยะนี้ไตจะทำงานได้<span lang="th">น้อย</span>กว่า 15%<br /> &nbsp;</font></p> </td> </tr> </tbody> </table> </td> </tr> <tr> <td width="100%"><u><font color="#0000CC" face="MS Sans Serif"><strong><span lang="th">อาการของโรคไตวาย ชนิดเฉียบพลัน</span></strong></font></u> <p style="line-height: 24px;"><font face="MS Sans Serif" size="3"><span lang="th">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</span>ไตเสื่อมอย่างรวดเร็ว&nbsp;&nbsp; ภายในเวลาเป็นวัน&nbsp; หรือสัปดาห์&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; มักมีอาการมากกว่าแบบ<span lang="th">วาย</span>เรื้อรัง&nbsp;&nbsp;&nbsp; อัตราการเสียชีวิตสูง&nbsp;&nbsp; ถ้าพ้นอันตราย&nbsp; ไตมักจะเป็นปกติได้</font></p> </td> </tr> <tr> <td width="100%">&nbsp;</td> </tr> <tr> <td width="100%"><font face="MS Sans Serif"><u><font color="#0000CC"><strong><span lang="th">อาการของโรคไต</span></strong></font><b><font color="#0000CC" size="3">วาย<span lang="th">&nbsp;</span></font></b><font color="#0000CC"><strong><span lang="th">ชนิดเรื่อรัง</span></strong></font></u></font> <p style="line-height: 24px;"><font face="MS Sans Serif" size="3"><span lang="th">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</span>เนื้อไตถูกทำลายอย่างถาวร&nbsp;&nbsp; ทำให้ไตค่อย ๆ ฝ่อเล็กลง&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; แม้อาการจะสงบ&nbsp; แต่ไตจะค่อย ๆ เสื่อม&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; และเข้าสู่ไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายในที่สุด</font></p> <p><font face="MS Sans Serif" size="3"><span lang="th">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</span><b><font color="#0000CC">ปัจจุบันพบว่า</font></b><span lang="th">สาตุสำคัญที่ทำให้</span>ผู้ป่วยด้วยโรคไต เข้าสู่โรคไต<span lang="th">วาย</span>เรื้อรังระยะสุดท้าย&nbsp; มีสาเหตุจาก</font></p> <ol> <li> <p style="line-height: 24px;"><font face="MS Sans Serif" size="3">อันดับหนึ่ง&nbsp;&nbsp; โรคเบาหวาน</font></p> </li> <li> <p style="line-height: 24px;"><font face="MS Sans Serif" size="3">อันดับสอง&nbsp;&nbsp; ความดันโลหิตสูง&nbsp; และ โรคหลอดเลือดฝอยไตอักเสบ&nbsp; เช่น&nbsp; โรค เอส- แอล &ndash; อี</font></p> </li> <li> <p style="line-height: 24px;"><font face="MS Sans Serif"><font size="3">สาเหตุอื่น ๆ&nbsp; ได้แก่<span lang="th">&nbsp;</span>โรคนิ่วในไต<span lang="th">,</span>อักเสบเรื้อรังจากการติดเชื้อ<span lang="th">,</span>โรคเก๊าส์<span lang="th">,</span></font><font color="#000000" size="3">การกินยาแก้ปวดต่อเนื่องเป็นเวลานาน ๆ<span lang="th">,</span>โรคถุงน้ำในไตที่ถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์</font></font></p> </li> </ol> <p style="line-height: 24px;"><b><font face="MS Sans Serif" size="3">&nbsp;<u>สาเหตุต่าง ๆ เหล่านี้&nbsp;&nbsp; มักทำให้เกิดโรคกับไตทั้ง 2 ข้างพร้อม ๆ กัน</u></font></b></p> </td> </tr> </tbody> </table> </td> </tr> </tbody> </table> &nbsp; <table border="0" bordercolor="#111111" cellpadding="0" cellspacing="0" id="AutoNumber17" style="font-family: 'Times New Roman'; border-collapse: collapse; background-color: rgb(151, 193, 242);" width="700"> <tbody> <tr> <td width="100%"> <p align="center"><span lang="th"><font color="#000099" face="MS Sans Serif" size="6">เบา</font><font color="#000099" face="MS Sans Serif" size="5">หวานกับโรคไต</font></span></p> <p align="left"><u><strong><font color="#0000CC" face="MS Sans Serif" size="3">โรคไตจากเบาหวาน</font></strong></u></p> <ol> <li> <p align="left" style="line-height: 24px;"><font face="MS Sans Serif"><span lang="th">เกิดจาก</span><font color="#000000" size="3">ผู้ที่เป็นเบาหวาน<span lang="th">&nbsp;เป็น</span>มานานหลายปี&nbsp;จะเกิดภาวะแทรกซ้อนของอวัยวะต่าง ๆ<span lang="th">&nbsp;</span>โดยเฉพาะหลอดเลือดทั่วร่างกายจะแข็ง&nbsp; และหนา&nbsp;ทำให้เลือดไป เลี้ยงส่วนต่าง ๆ ของร่างกายลดลง</font></font></p> </li> <li> <p align="left" style="line-height: 24px;"><font color="#000000" face="MS Sans Serif" size="3">ถ้าควบคุมเบาหวานไม่ดี&nbsp;ภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ จะเกิดเร็วกว่าปกติ</font></p> </li> <li> <p align="left" style="line-height: 24px;"><font color="#000000" face="MS Sans Serif" size="3">โดยเฉลี่ยโรคไตมักจะเกิดตามหลังโรคเบาหวานมากกว่า 10 ปี&nbsp; ขึ้นไป</font></p> </li> <li> <p align="left" style="line-height: 24px;"><font color="#000000" face="MS Sans Serif" size="3">ถ้าเริ่มมีอาการบวมตามแขน&nbsp; ขา&nbsp; ใบหน้า&nbsp; และลำตัว เป็นการบ่งชี้ว่าเริ่มมีความผิดปกติทางไต</font></p> </li> <li> <p align="left" style="line-height: 24px;"><font color="#000000" face="MS Sans Serif" size="3">การตรวจพบโรคไตระยะเริ่มแรกในผู้ป่วยเบาหวาน&nbsp;คือความดันโลหิตสูงไข่ขาวหรือโปรตีนรั่วในปัสสาว<span lang="th">ะ</span></font></p> </li> <li> <p style="line-height: 24px;"><font color="#000000" face="MS Sans Serif" size="3">เมื่อไตเริ่มเสื่อมลง&nbsp;จะต้องเจาะเลือดเพื่อตรวจหน้าที่ไตโดยค่ายูเรียไนโตรเจน ( BUN ) และคริเอตินิน&nbsp;&nbsp; ( Creatinine )&nbsp;&nbsp; จะสูงกว่าคนปกติ</font></p> </li> </ol> <p align="left" style="line-height: 24px;"><u><strong><font color="#0000CC" face="MS Sans Serif" size="3">ภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยเบาหวาน</font></strong></u></p> <ol> <li> <p align="left" style="line-height: 24px;"><font color="#000000" face="MS Sans Serif" size="3">กระเพาะปัสสาวะอักเสบ</font></p> </li> <li> <p align="left" style="line-height: 24px;"><font color="#000000" face="MS Sans Serif" size="3">อาการบวม</font></p> </li> <li> <p align="left" style="line-height: 24px;"><font color="#000000" face="MS Sans Serif" size="3">ไตอักเสบจากการติดเชื้อ</font></p> </li> <li> <p align="left" style="line-height: 24px;"><font color="#000000" face="MS Sans Serif" size="3">ไตวายฉับพลัน</font></p> </li> <li> <p align="left" style="line-height: 24px;"><font color="#000000" face="MS Sans Serif" size="3">ไตวายเรื้อรัง</font></p> </li> </ol> <p align="left" style="line-height: 24px;"><u><font color="#0000CC" face="MS Sans Serif" size="3"><strong>ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรคไตในผู้ป่วยเบาหวาน</strong>&nbsp;</font></u></p> <p align="left" style="line-height: 24px;"><font color="#000000" face="MS Sans Serif" size="3"><span lang="th">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; พบว่า</span>ผู้ป่วยโรคเบาหวานประมาณ&nbsp; 30 &ndash; 35 %<span lang="th">&nbsp;จะเป็นโรคไต&nbsp;</span>โ<span lang="th">ดยมี</span>ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรค<span lang="th">ไตจาก&nbsp;</span>พันธุกรรม<span lang="th">,</span>ระดับน้ำตาลสูง<span lang="th">,&nbsp;</span>ความดันโลหิตสูง<span lang="th">,&nbsp;</span>โปรตีนรั่วในปัสสาวะ<span lang="th">,</span>&nbsp;การสูบบุหรี่</font></p> <p align="left" style="line-height: 24px;"><strong><font color="#0000CC" face="MS Sans Serif" size="3">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; การดูแลผู้ป่วยเบาหวาน&nbsp; เพื่อป้องกันโรคไต</font></strong></p> <ol> <li> <p align="left" style="line-height: 24px;"><font color="#000000" face="MS Sans Serif" size="3">ตรว<span lang="th">จ</span>ปัสสาวะ&nbsp; เพื่อหาโปรตีนทุกปี</font></p> </li> <li> <p align="left" style="line-height: 24px;"><font color="#000000" face="MS Sans Serif" size="3">ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้เท่ากับ&nbsp; หรือใกล้เคียงปกติ&nbsp;&nbsp;&nbsp; เท่าที่สามารถทำได้</font></p> </li> <li> <p align="left" style="line-height: 24px;"><font color="#000000" face="MS Sans Serif" size="3">รักษาความดันโลหิตให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ</font></p> </li> <li> <p align="left" style="line-height: 24px;"><font color="#000000" face="MS Sans Serif" size="3">หลีกเลี่ยงการใช้ยา&nbsp; หรือ&nbsp; สารที่เป็นอันตรายต่อไต&nbsp;&nbsp;&nbsp; เช่น ยาต้านการอักเสบระงับปวด&nbsp;&nbsp; สารทึบรังสี</font></p> </li> <li> <p align="left" style="line-height: 24px;"><font color="#000000" face="MS Sans Serif" size="3">สำรวจ และให้การรักษาโรค&nbsp; หรือ ภาวะอื่นที่ทำให้ไตเสื่อมสมรรถภาพ&nbsp;&nbsp; เช่น การติดเชื้อทางปัสสาวะ</font></p> </li> </ol> <p align="left" style="line-height: 24px;"><u><font color="#0000CC" face="MS Sans Serif" size="3"><strong>การดูแลผู้ป่วยเบาหวาน&nbsp; และเป็นโรคไต</strong></font></u></p> <ol> <li> <p align="left" style="line-height: 24px;"><font color="#000000" face="MS Sans Serif" size="3">ตรวจปัสสาวะ และ เลือด&nbsp;เพื่อดูหน้าที่ไตเป็นระยะ ๆ&nbsp;&nbsp;</font></p> </li> <li> <p align="left" style="line-height: 24px;"><font color="#000000" face="MS Sans Serif" size="3">กินยาตามแพทย์สั่งติดต่อกัน&nbsp; และพบแพทย์ตามนัด</font></p> </li> <li> <p align="left" style="line-height: 24px;"><font color="#000000" face="MS Sans Serif" size="3">งดบุหรี่ และแอลกอฮอล์&nbsp;&nbsp;&nbsp; ซึ่งมีผลต่อหลอดเลือด</font></p> </li> <li> <p align="left" style="line-height: 24px;"><font color="#000000" face="MS Sans Serif" size="3">ถ้าต้องรับประทานยาแก้ปวด หรือ ยาอื่น ๆ&nbsp;&nbsp;&nbsp; ควรอยู่ภายใต้คำแนะนำของแพทย์ และเภสัชกร</font></p> </li> <li> <p align="left" style="line-height: 24px;"><font color="#000000" face="MS Sans Serif" size="3">เมื่อมีอาการบวม&nbsp;&nbsp; ควรงดอาหารเค็ม รสจัด หมักดอง และอาหารกระป๋อง</font></p> </li> <li> <p align="left" style="line-height: 24px;"><font color="#000000" face="MS Sans Serif" size="3">ควบคุมความดันโลหิตให้ปกติ&nbsp; หรือ&nbsp; ใกล้เคียงมากที่สุด&nbsp;กินยาสม่ำเสมอ ไม่หยุดยาเองเพราะคิดว่าสบายดีแล้ว</font></p> </li> <li> <p align="left" style="line-height: 24px;"><font color="#000000" face="MS Sans Serif" size="3">ระวังอาหารที่มี&nbsp; โคเลสเตอรอลสูง</font></p> </li> <li> <p align="left" style="line-height: 24px;"><font color="#000000" face="MS Sans Serif" size="3">รับประทานผัก&nbsp; และปลามากขึ้น</font></p> </li> <li> <p align="left" style="line-height: 24px;"><font color="#000000" face="MS Sans Serif" size="3">ควรตรวจอวัยวะอื่น ๆ ด้วย&nbsp;&nbsp; เช่น ตา หัวใจ ปอด</font></p> </li> <li> <p align="left" style="line-height: 24px;"><font color="#000000" face="MS Sans Serif" size="3">สำรวจผิวหนัง และเท้าให้สะอาด&nbsp;&nbsp; ไม่มีแผลเรื้อรัง</font></p> </li> <li> <p align="left" style="line-height: 24px;"><font color="#000000" face="MS Sans Serif" size="3">ระหว่างการรักษาด้วยเครื่องไตเทียม&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ควรรับประทานเนื้อสัตว์ และอาหารเค็มให้น้อยที่สุด</font></p> </li> <li> <p align="left" style="line-height: 24px;"><font color="#000000" face="MS Sans Serif" size="3">ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดอย่างเคร่งครัด<br /> <span lang="th"><font color="#000099" face="MS Sans Serif" size="6">ข้อ</font><font color="#000099" face="MS Sans Serif" size="5">แนะนำผู้ป่วยโรคไต</font></span></font></p> </li> <li> <p align="left" style="line-height: 24px;"><font color="#000000" face="MS Sans Serif" size="3">&nbsp;<u><b><span lang="th">งด</span>อาหารโคเลสเตอรอลสูง</b></u><span lang="th"><u><b>&nbsp;</b></u>&nbsp;เช่น&nbsp;</span>อาหารทะเล<span lang="th">&nbsp;,</span>เนื้อ &ndash; หมู ติดมัน<span lang="th">&nbsp;,</span>กุ้ง<span lang="th">&nbsp;,หอย ,ทุเรียน และอื่นๆ</span></font></p> </li> <li> <p align="left" style="line-height: 24px;"><font color="#000000" face="MS Sans Serif" size="3"><u><span lang="th">&nbsp;</span><b>ง<span lang="th">ด</span>อาหารไตรกลีเซอร์ไรด์สูง</b></u>&nbsp;<span lang="th">เช่น อาหารประเภทแป้ง , ของหวาน ,ผลไม้รสหวาน ,</span>ครื่องดื่มที่ผสมแอลกอฮอล์</font></p> </li> <li> <p align="left" style="line-height: 24px;"><font face="MS Sans Serif"><span class="style93"><u><b><span class="style124">งดกินอาหารที่มีฟอสเฟตสูง</span></b></u>&nbsp;ฟอสเฟตมักพบในอาหารที่มีโปรตีนสูง เช่น เนื้อสัตว์ ไข่แดง นม และเมล็ดพืชต่างๆ เช่น ถั่วลิสง เม็ดทานตะวัน เม็ดมะม่วงหิมพานต์ เมล็ดอัลมอนด์ ควรหลีกเลี่ยงอาหารดังกล่าว พบว่าอาหารที่มีฟอสเฟตสูง จะเร่งการเสื่อมของโรคไตวายเรื้อรัง ให้รุนแรงมากขึ้น และมีความรุนแรงของ การมีโปรตีนรั่วทางปัสสาวะมากขึ้น นอกเหนือจากผลเสีย ต่อระบบกระดูกดังกล่<br /> <span lang="th"><font color="#000099" face="MS Sans Serif" size="6">การ</font><font color="#000099" face="MS Sans Serif" size="5">รักษาผู้ป่วยโรคไต</font></span></span></font></p> </li> <li> <p align="left" style="line-height: 24px;"><font face="MS Sans Serif"><span lang="th">ผู้ป่วยโรค</span><span lang="th">ไตวาย ชนิดเฉียบพลัน</span></font></p> </li> <li> <p align="left" style="line-height: 24px;"><font face="MS Sans Serif"><span lang="th">ผู้ป่วยโรค</span><span lang="th">ไตวาย ชนิดเรื่อรัง</span></font></p> </li> </ol> <p><span class="en">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;<span lang="th" style="line-height: 1.2em; font-size: 13px;"><font color="#000099" face="MS Sans Serif" size="6">การ</font><font color="#000099" face="MS Sans Serif" size="5">รักษา</font></span><font color="#000099" face="MS Sans Serif" size="5" style="line-height: 1.2em;">โรคไตวายเรื้อรัง มี 4 วิธี ดังนี้</font></span></p> <p><span class="en"><b><font color="#0000CC" face="Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif" size="4"><font face="MS Sans Serif">&nbsp; &nbsp;1.<u>&nbsp;การรักษาด้วยยา และควบคุมน้ำ, อาหาร<span lang="th">&nbsp;</span></u></font></font></b></span></p> <p style="line-height: 24px;"><span class="en"><font face="MS Sans Serif" size="4"><span lang="th">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</span></font><span lang="th"><font face="MS Sans Serif">&nbsp;</font></span><font face="MS Sans Serif">วิธีนี้จะได้ผลในผู้ป่วย ที่ไม่ถึงระยะสุดท้ายของโรค<span lang="th">&nbsp;&nbsp;&nbsp;</span>ยาที่ใช้ เช่น</font></span></p> <ul> <li> <p style="line-height: 24px;"><span class="en"><font face="MS Sans Serif">ยาปรับดุลน้ำ เกลือ ภาวะกรดด่าง ยาจับฟอสเฟต ไม่ให้ถูกดูดซึมจากลำไส้ ยาทดแทนฮอร์โมนที่ไตสร้าง ฯลฯ ควรรับประทานยาอย่างเคร่งครัด ตามขนาดที่แพทย์สั่ง ไม่เปลี่ยนยาหรือซื้อยารับประทานเอง เพราะเป็นอันตรายถึงขั้นเสียชีวิตได้</font></span></p> </li> <li> <p style="line-height: 24px;"><span class="en"><font face="MS Sans Serif">การควบคุมน้ำ ผู้ที่เป็นโรคไตวาย ไตจะขับน้ำปริมาณเท่าเดิมไม่ว่าจะได้รับน้ำมากหรือน้อย ทำให้เกิดน้ำคั่งอยู่ในตัว น้ำหนักตัวเพิ่ม เกิดอาการเป็นพิษจากน้ำ คือ ซึม ชักและหมดสติ</font></span></p> </li> <li> <p align="left" style="line-height: 24px;"><span class="en"><font face="MS Sans Serif"><span lang="th">การให้น้ำ</span>ปริมาณน้ำที่พอดีสำหรับผู้ป่วย (ต่อวัน) = ปริมาณปัสสาวะ(ต่อวัน) + 800 ซีซี.&nbsp; (1 ขวดน้ำปลากลม)</font></span></p> </li> <li> <p align="left" style="line-height: 24px;"><span class="en"><font face="MS Sans Serif">การควบคุมเกลือโซเดียม เกลือโซเดียมคือเกลือที่ทำให้อาหารมีรสเค็ม ในผู้ที่บวมให้งดเติมเกลือในอาหาร (งดอาหารที่มีรสเค็ม) และงดอาหารที่มีเกลือสูง เช่น น้ำปลา เนยแข็ง เต้าหู้ยี้ แหนม ของหมักดอง ซอสทุกชนิด ไส้กรอก อาหารกระป๋อง ผงชูรส น้ำพริก อาหารยำทุกชนิด เป็นต้น</font></span></p> </li> <li> <p align="left" style="line-height: 24px;"><span class="en"><font face="MS Sans Serif">&nbsp;การควบคุมเกลือโปแตสเซียม ผู้ป่วยที่มีปริมาณปัสสาวะน้อยกว่า 800 ซีซี..ต่อวัน ควรหลีกเลี่ยงอาหารที่มีเกลือโปแตสเซียมสูง เช่นผลไม้ทุกชนิด สะตอ ถั่ว เครื่องในสัตว์ ผักสด และผักที่แช่แข็ง หอย มะขาม กาแฟ ช็อคโกแลต ฯลฯ เพราะปริมาณโปแตสเซียมคั่งในร่างกายจะเป็นอันตรายต่อหัวใจโดยตรง ทำให้เสียชีวิตในเวลาอันรวดเร็ว</font></span></p> </li> <li> <p align="left" style="line-height: 24px;"><span class="en"><font face="MS Sans Serif">การควบคุมอาหารโปรตีน การกำจัดอาหารโปรตีนตั้งแต่ต้นจะช่วยชะลอการทำลายเนื้อไต ผู้ที่เป็นโรคไตวายต้องจำกัดอาหารโปรตีนเหลือ 40 กรัมต่อวัน และควรเลือกโปรตีนคุณค่าสูง เช่นโปรตีนจากไข่และเนื้อสัตว์ แต่ควรลดปริมาณลง ส่วนโปรตีนจากพืชมีคุณค่าน้อยกว่า ให้หลีกเลี่ยงการรับประทาน</font></span></p> <p><span class="en"><font face="MS Sans Serif">ตัวอย่างโปรตีนในอาหาร</font></span></p> <p><span class="en"><font face="MS Sans Serif">ไข่ไก่ 1 ฟอง มีโปรตีน 6-8 กรัม</font></span></p> <p><span class="en"><font face="MS Sans Serif">นมสด 1 ถ้วย มีโปรตีน 8 กรัม</font></span></p> <p><span class="en"><font face="MS Sans Serif">เนื้อสัตว์ 1 ขีด มีโปรตีน 23 กรัม เป็นต้น</font></span></p> </li> <li> <p align="left" style="line-height: 24px;"><span class="en"><font face="MS Sans Serif">การควบคุมน้ำและอาหารในผู้ป่วยแต่ละรายมีความแตกต่างกัน ดังนั้นควรปรึกษาและปฏิบัติตามคำแนะนำจากแพทย์ผู้รักษา</font></span></p> </li> </ul> </td> </tr> <tr> <td width="100%"><span class="en"><b><u><font color="#0000CC" face="MS Sans Serif">2. การขจัดของเสียทางช่องท้องอย่างต่อเนื่อง (ซี เอ พี ดี)</font></u></b></span> <p style="line-height: 24px;"><span class="en"><font face="MS Sans Serif"><span lang="th">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</span>โดยใช้เยื่อบุช่องท้องเป็นที่กรองของเสียในเลือดให้ออกมาในน้ำยาที่ใส่ไว้ในช่องท้อง ผู้ป่วยต้องมาผ่าตัดฝังท่อพลาสติกไว้ในช่องท้องเพื่อต่อกับถุงน้ำยาและต้องได้รับการฝึกสอนจากแพทย์และพยาบาลที่เชี่ยวชาญเสียก่อน จึงสามารถนำไปปฏิบัติต่อที่บ้านได้</font></span></p> <p><span class="en"><b><u><font color="#0000CC" face="MS Sans Serif" size="3">3. การฟอกเลือด (การทำไตเทียม)</font></u></b></span></p> <p style="line-height: 24px;"><span class="en"><font face="MS Sans Serif" size="3"><span lang="th">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</span>โดยใช้เครื่องฟอกเลือด เป็นตัวกรองของเสียในร่างกาย ผู้ป่วยต้องได้รับการผ่าตัดเตรียมหลอดเลือด และมารับการฟอกเลือดในโรงพยาบาลตามกำหนดสัปดาห์ละ 2-3 ครั้ง ผู้ป่วยที่รักษาโดยการฟอกเลือดต้องจำกัดอาหารประเภทฟัก ผลไม้ และอาหารเค็มโดยเคร่งครัด ไม่สามารถรับประทานได้อย่างอิสระเหมือนผู้ป่วยที่รักษาด้วยวิธีขจัดของเสียทางช่องท้องอย่างต่อเนื่อง&nbsp;</font></span></p> <p style="line-height: 24px;"><span class="en"><font face="MS Sans Serif" size="3">การเลือกวิธีการรักษามีความแตกต่างกัน แพทย์จะพิจารณาเป็นรายบุคคล โดยดูจากอายุ พื้นฐานของโรค, ลักษณะหลอดเลือด, สภาพจิตใจและโรคแทรกซ้อนอื่นๆ เช่น โรคหัวใจ โรคเบาหวาน ฯลฯ</font></span></p> <p><span class="en"><b><font color="#0000CC" face="MS Sans Serif" size="3">&nbsp; &nbsp;4.&nbsp;&nbsp;<u>การปลูกถ่ายไต&nbsp;&nbsp;</u></font></b></span></p> <p style="line-height: 24px;"><span class="en"><font face="MS Sans Serif" size="3"><span lang="th">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</span>คือ&nbsp; การนำไตจากผู้บริจาค (ที่เสียชีวิตแล้ว, หรือยังมีชีวิตอยู่ เช่น จากพี่น้อง พ่อแม่) มาผ่าตัดใส่ให้ผู้ป่วยไตวายเรื้อรัง ซึ่งแพทย์ที่รักษาจะต้องทำการตรวจร่างกายอย่างละเอียด คัดเลือกผู้ป่วยที่เหมาะสมและเตรียมผู้ป่วยให้พร้อมทั้งร่างกายและจิตใจก่อนทำการผ่าตัด หลังทำผ่าตัดแล้วผู้ป่วยต้องรับประทานยากดภูมิต้านทานไปตลอดระยะเวลาที่ไตยังอยู่ในร่างกาย</font></span></p> <p><span class="en"><font face="MS Sans Serif" size="3">วิธีการรักษา 3 วิธีหลังนี้ใช้ในผู้ป่วยที่เป็นโรคไตวายเรื้อรังระยะท้ายที่ทำการรักษาด้วยวิธีที่ 1 ไม่ได้ผลแล้ว</font></span></p> <p style="line-height: 24px;"><span class="en"><u><span lang="th"><font color="#000099" face="MS Sans Serif" size="6">บท</font><font color="#000099" face="MS Sans Serif" size="5">สรุป</font></span></u></span></p> <p style="line-height: 24px;"><span class="en"><span lang="th"><font face="MS Sans Serif">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; โรคไตก็เป็นอีกโรคหนึ่งที่เชื่อว่าน่าจะมีมานานมาแต่โบราณ&nbsp;</font></span><span lang="TH" style="font-family: 'MS Sans Serif';">ซึ่งเป็นโรคร้ายแรง&nbsp; ที่ยังพิสูจน์ไม่ได้ในสมัยนั้น&nbsp; เราจะเห็นได้ว่า ปัจจุบันแม้นวิทยาศาสตร์สมัยใหม่จะพิสูจน์ได้แล้วว่าโรคไตเป็นอย่างไร มีสาเหตุมาจากอะไร&nbsp; จะรักษาอย่างไร&nbsp; แต่สิ่งหนึ่งที่ทำให้เห็นภาพที่ชัดเจนว่า&nbsp; นอกจากการให้ยาแล้ว ยังควบคุมอาหาร&nbsp; โดยเลือกให้กินอาหารอย่างเหมาะสมกับโรค&nbsp;</span></span></p> <p style="line-height: 24px;"><span class="en"><span lang="th" style="font-family: 'MS Sans Serif';">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</span><font color="#0000CC" face="MS Sans Serif" size="5"><span lang="th">ส</span></font><span lang="th" style="font-family: 'MS Sans Serif';"><font color="#0000CC">มุน</font>ไพรกับการรักษาโรค&nbsp; มีการใช้มาแต่โบราณ ใช้เป็นทั้งอาหารเป็นทั้งยา&nbsp; ชาวจีนโบราณรู้จักใช้เห็ดหลินจือ สายพันธ์สีดำ</span><span lang="TH" style="font-family: 'MS Sans Serif';"><span style="font-size: 11pt;">เ</span>รียกว่า</span><font color="#0001cf"><span lang="TH" style="font-weight: 700; font-family: 'MS Sans Serif';">&nbsp;</span><span lang="TH" style="font-family: 'MS Sans Serif';">เฮยจือ เอ๋าจือ</span></font><span lang="TH" style="font-family: 'MS Sans Serif';">&nbsp;</span><font face="MS Sans Serif"><span lang="TH">&nbsp;สรรพคุณ&nbsp; บำรุงไต&nbsp;</span></font><span lang="TH" style="font-family: 'MS Sans Serif';">&nbsp;</span><font face="MS Sans Serif"><span lang="TH">และทางขับปัสสาวะ&nbsp;&nbsp;<font color="#0001CF">และ</font><font color="#0001cf">ยังคงใช้กันมาจนถึงทุกวันนี้</font></span></font></span></p> <p style="line-height: 24px;"><span class="en"><span lang="th"><b><font color="#0001CF" face="MS Sans Serif" style="font-size: 11pt;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</font></b></span><span lang="th" style="font-family: 'MS Sans Serif';">ปัจจุบันได้มีการศึกษาโดยวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ โดยแพทย์จุฬาทดลองใช้เห็ดหลินจือในผู้ป่วยโรคไตวายเรื่อรัง โดยระบุอย่างเป็นทางการแล้วว่า สามารถฟื้นฟูการทำงานของไตได้จริง ..</span></span><span style="color: rgb(0, 0, 204); font-family: 'MS Sans Serif'; font-weight: bold; line-height: normal;">&nbsp;&nbsp;</span><span style="color: rgb(0, 0, 204); font-family: 'MS Sans Serif'; font-weight: bold; line-height: normal;">แหล่งข้อมูล</span><span style="color: rgb(0, 0, 204); font-family: 'MS Sans Serif'; font-weight: bold; line-height: normal;">&nbsp;</span><span style="color: rgb(0, 0, 204); font-family: 'MS Sans Serif'; font-weight: bold; line-height: normal;">&nbsp;ศูนย์วิทยาศาสตร์ การ</span><span style="color: rgb(0, 0, 204); font-family: 'MS Sans Serif'; font-weight: bold; line-height: normal;">แพทย์สมุทรสงคราม</span></p> <p>&nbsp;</p> </td> </tr> </tbody> </table> Sun, 27 Jul 2014 11:18:00 +0700 วิธีรักษาโรคเกาต์ http://f-going.myreadyweb.com/product/detail-150188.html <img alt="วิธีการบำบัด รักษาโรคเกาต์" src="http://f-going.myreadyweb.com/storage_upload/9/43019/uploads/images/36630_1.gif" style="width: 50px; height: 50px;" /><strong style="line-height: 1.6em;">&nbsp;</strong><span class="style90" style="line-height: 1.6em;"><span class="style90" style="line-height: 1.6em;">&nbsp;&nbsp;<strong>*****&nbsp;</strong><span class="style90"><strong>โรคเกาต์คืออะไร *****</strong><br /> <span class="style90">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</span>โรคเกาต์เป็นผล จากการที่ร่างกายมีระดับกรดยูริกในเลือดสูงเกินจุดอิ่มตัว จนเกิดการตกตะกอนเป็นผลึกเกลือยูเรต (คล้ายกับน้ำเชื่อมที่เข้มข้นตกผลึกเป็นเกล็ดน้ำตาล หรือน้ำเกลือเข้มข้นที่ตกผลึกเป็นเม็ดเกลือ) โดยผลึกเหล่านี้จะสะสมตามเนื้อเยื่อต่างๆ ทั่วร่างกาย โดยเฉพาะบริเวณรอบๆ ข้อ และไต รวมทั้งอวัยวะอื่นๆ ทำให้เกิดการอักเสบ ซึ่งได้แก่ ข้ออักเสบ นิ่วในไต หรือภาวะทำงานบกพร่องตามมา แต่เราจะรู้จักกันแค่ข้ออักเสบเป็นส่วนใหญ่&nbsp;<br /> &nbsp;&nbsp;<strong>สาเหตุ</strong><br /> &nbsp;&nbsp;</span>ระดับกรดยูริกในเด็กจะมีค่าประมาณ 3-4 มิลลิกรัม/เดซิลิต แต่ในเพศชาย ระดับกรดยูริกจะมีค่าเพิ่มขึ้นเมื่อเข้าสู่ช่วงวัยรุ่น ส่วนระดับกรดยูริกในเพศหญิงจะมีค่าเพิ่มขึ้นภายหลังวัยหมดประจำเดือน (เนื่องจากฮอร์โมนเพศหญิงจะทำหน้าที่เร่งการขับกรดยูริกออกทางไต) กรดยูริกที่เพิ่มขึ้นจะค่อยๆ ตกตะกอนเป็นผลึกเกลือยูเรตสะสมในร่างกายจนมากพอ และก่อให้เกิดข้ออักเสบขึ้น ซึ่งในเพศชายมักเกิดในช่วงอายุประมาณ 30-45 ปี ในขณะที่เพศหญิงจะเกิดภายหลังการหมดประจำเดือนไปประมาณ 5-10 ปี อย่างไรก็ดีการที่ระดับกรดยูริกในเลือดสูงเพียงชั่วคราวจะไม่สามารถทำให้ เกิดการตกตะกอนผลึกเกลือยูเรตในเนื้อเยื่อต่างๆ ได้ ดังนั้นสาเหตุที่ทำให้ระดับกรดยูริกในเลือดสูงเป็นระยะเวลานานๆ และเป็นปัจจัยที่ทำให้เกิดโรคเกาต์มักได้แก่<br /> <br /> <span class="style90">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</span> - ความผิดปกติของเอนไซม์ในเมตาบอลิซึมของสารพิวรีนในร่างกาย (สารพิวรีนเป็นสารตั้งต้นของกรดยูริก) ทำให้ร่างกายมีการสร้างกรดยูริกมากเกินปกติ ความผิดปกตินี้จะก่อให้เกิดภาวะกรดยูริกในเด็ก และก่อให้เกิดโรคเกาต์ในคนอายุน้อย&nbsp;</span><span style="line-height: 1.6em;"> - มีการสร้างและสลายเซลล์ต่างๆ ของร่างกายเพิ่มขึ้น ทำให้ระดับกรดยูริกเพิ่มสูงขึ้น เช่น มะเร็งเม็ดเลือด มะเร็งต่อมน้ำเหลือง ส่วนมะเร็งที่เป็นก้อน เช่น มะเร็งปอด ตับ ลำไส้ มักไม่ก่อให้ระดับกรดยูริกในเลือดสูงมากนัก</span></span> <p><br /> <span class="style90" style="line-height: 1.6em;"><span class="style90">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</span> - ภาวะไตทำงานผิดปกติ เนื่องจากกรดยูริกที่ร่างกายสร้างขึ้นจะมีการขับออกทางไตเป็นหลัก เมื่อมีภาวะไตทำงานบกพร่องจึงเป็นสาเหตุให้ระดับกรดยูริกในเลือดสูงขึ้น<br /> <br /> <span class="style90">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</span> - การได้รับยาหรือสารบางอย่าง ที่ทำให้มีการลดการขับกรดยูริกออกทางไต เช่น ยาแอสไพรินขนาดต่ำ ยารักษาวัณโรค ยาขับปัสสาวะ และสุรา เป็นต้น </span></p> <span class="style90" style="line-height: 1.6em;"> </span> <p><span class="style90" style="line-height: 1.6em;"><strong>กลุ่มเสี่ยง</strong><br /> <span class="style90">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</span>ผู้ที่มีโอกาสเสี่ยงต่อการเป็นโรคเกาต์สูง ได้แก่<br /> <span class="style90">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</span>- เพศชาย อายุช่วงประมาณ 30-45 ปี หรือเพศหญิงในวัยหมดประจำเดือนด้วยสาเหตุดังกล่าวไปแล้ว<br /> <span class="style90">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</span>- ผู้ที่มีโรคร่วมซึ่งได้แก่ โรคอ้วน โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และโรคไขมันในโลหิตสูง<br /> <span class="style90">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</span>- ผู้ที่ดื่มสุราหรือแอลกอฮอล์เป็นประจำ<br /> <span class="style90">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</span>- ผู้ที่รับประทานอาหารเนื้อสัตว์และอาหารทะเลปริมาณมากเป็นประจำ<br /> <span class="style90">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</span>- ผู้รับประทานยาบางชนิดติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน เช่น ยาขับปัสสาวะ </span></p> <span class="style90" style="line-height: 1.6em;"><span class="style90" style="line-height: 1.6em;">&nbsp; &nbsp; &nbsp;</span><span style="line-height: 1.6em;">- ผู้ที่มีภาวะไตทำงานบกพร่อง เป็นสาเหตุให้มีการคั่งของกรดยูริกในเลือด</span>&nbsp;<br /> <strong>อาการและการดำเนินโรค</strong><br /> <span class="style90">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</span>โรคเกาต์ อาจแบ่งออกได้เป็น 4 ระยะ คือ&nbsp; <strong>ระยะแรก</strong> เป็นช่วงที่ยังไม่มีอาการ แต่ตรวจพบระดับกรดยูริกในเลือดสูง (แม้จะทำการตรวจซ้ำแล้วก็ตาม) โดยไม่สามารถหาสาเหตุ หรือเมื่อพยายามแก้ไขสาเหตุของระดับกรดยูริกในเลือดที่สูงแล้วก็ตาม ในระยะนี้ยังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ว่าจำเป็นต้องรับการรักษาหรือไม่ แต่มีหลักฐานว่าควรจะต้องรักษาหากตรวจพบนิ่วกรดยูริกในทางเดินปัสสาวะ หรือพบว่าระดับกรดยูริกนั้นสูงกว่า 13.0 มิลลิกรัม/เดซิลิตร ในเพศชาย และ 10.0 มิลลิกรัม/เดซิลิตร ในเพศหญิง เนื่องจากถ้าติดตามไปจะพบว่า มีโอกาสเกิดภาวะไตวายหรือเกิดนิ่วในทางเดินปัสสาวะเพิ่มขึ้นได้ถ้าไม่รักษา<br /> <br /> <span class="style90">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</span> ระยะข้ออักเสบกำเริบเฉียบพลัน ระยะนี้ผู้ป่วยจะมีอาการปวดข้อ และมีข้ออักเสบอย่างรุนแรง โดยข้ออักเสบจะเกิดขึ้นเอง หรืออาจมีตัวกระตุ้น เช่น การได้รับการกระแทกบริเวณข้อ การดื่มสุราหรือเบียร์ การรับประทานอาหารที่มีสารพิวรีนสูง เช่น เครื่องในสัตว์ ยอดผัก เป็นต้น ข้อที่อักเสบจะบวม แดง ร้อน อย่างชัดเจน (รูปที่ 1) ผู้ป่วยจะขยับข้อลำบาก ปวด และทรมาน ในบางรายอาจมีอาการไข้ หรือหนาวสั่นร่วม ซึ่งทำให้แยกยากจากข้ออักเสบจากการติดเชื้อ ข้อที่พบจะเป็นกับข้อส่วนล่างของร่างกาย เช่น ข้อหัวแม่เท้า ข้อเข่า และข้อเท้า ข้ออักเสบมักเป็นเพียง 1-2 ข้อ การอักเสบในระยะแรกๆ จะเป็นอยู่นาน 5-7 วัน และสามารถหายได้เองโดยไม่ได้รับการรักษา และอาจเป็นใหม่ในระยะเวลาต่อมาอีก 1-2 ปี โดยระยะแรกๆ การอักเสบแต่ละครั้งจะห่างกันมาก แต่ถ้าเป็นมานานและได้รับการรักษาที่ไม่ถูกต้อง ผลึกเกลือยูเรตจะสะสมในร่างกายมากขึ้น ข้ออักเสบในแต่ละครั้งจะมีจำนวนมากขึ้น และเป็นถี่ขึ้น ซึ่งในบางรายอาจมีข้ออักเสบกำเริบทุกเดือน เมื่อมีข้ออักเสบติดต่อกันทำให้ดูเหมือนเป็นโรคข้ออักเสบเรื้อรัง ข้อจะผิดรูป ทำให้ดูคล้ายโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ได้ (รูปที่ 2)<br /> <br /> <span class="style90">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</span> ระยะข้ออักเสบสงบหรือช่วงที่ไม่มีอาการ เป็นช่วงระยะเวลาระหว่างข้ออักเสบแต่ละครั้ง ซึ่งในระยะแรกๆ ช่วงเวลานี้จะนาน อาจนานเป็นปี จนผู้ป่วยลืมการอักเสบครั้งก่อนไปแล้ว แต่ถ้าเป็นมากขึ้น ระยะเวลาที่ไม่มีอาการนี้จะสั้นลงเรื่อยๆ<br /> <br /> <span class="style90">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</span> ระยะมีปุ่มก้อนโทฟัส เป็นระยะท้ายของโรค มักพบในผู้ป่วยที่เป็นโรคเกาต์มานานกว่า 5 ปี และได้รับการรักษาที่ไม่ถูกต้อง ทำให้ผลึกเกลือยูเรตที่สะสมตามเนื้อเยื่อต่างๆ ของร่างกายสะสมเป็นก้อน ปูดออกมาบริเวณผิวหนังรอบๆ ข้อ (เรียกว่าปุ่มโทฟัส) ตำแหน่งที่พบปุ่มก้อนได้บ่อย ได้แก่ บริเวณข้อเท้า ตาตุ่ม ข้อศอก นิ้วมือ นิ้วเท้า (รูปที่ 3ก.และ 3ค.) ปุ่มก้อนเหล่านี้จะกัดกินกระดูกให้กระดูกแหว่ง ข้อถูกทำลาย (รูปที่ 4) และเกิดความพิการในที่สุด ในระยะนี้ ผู้ป่วยจะเริ่มมีความผิดปกติในระบบอื่นๆ ร่วมด้วย โดยเฉพาะระบบไต เนื่องจากผลึกเกลือยูเรตสะสมที่ไต ทำให้ไตวาย เกิดนิ่วในทางเดินปัสสาวะ และมีภาวะโรคความดันโลหิตสูง และโรคหลอดเลือดหัวใจร่วมด้วย&nbsp;&nbsp;</span><span style="line-height: 1.6em;"> </span><strong style="line-height: 1.6em;">&nbsp;การวินิจฉัย</strong> <p><span class="style90">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</span>ถึงแม้ว่าโรคเกาต์จะเป็นผลจากการที่มีระดับกรดยูริกในเลือดสูง แต่การมีระดับกรดยูริกในเลือดสูงร่วมกับมีข้ออักเสบไม่ได้หมายความว่าผู้ ป่วยต้องเป็นโรคเกาต์ เพราะมีภาวะต่างๆ ที่ทำให้ระดับกรดยูริกในเลือดสูงมากมาย ดังนั้น การวินิจฉัยโรคเกาต์ที่แม่นยำที่สุดจึงจำเป็นต้องเจาะตรวจน้ำไขข้อในขณะที่ ข้อมีการอักเสบ ซึ่งเมื่อนำไปตรวจด้วยกล้องจุลทรรศน์จะพบผลึกเกลือรูปเข็มในน้ำไขข้อ (รูปที่ 5) ในกรณีที่ไม่มีข้ออักเสบ แต่ตรวจร่างกายพบปุ่มโทฟัส แพทย์อาจใช้เข็มสะกิดบริเวณปุ่มนั้นๆ ซึ่งจะได้สารสีขาวคล้ายชอล์กมา เมื่อไปส่องกล้องดูก็จะพบผลึกเกลือยูเรตเช่นกัน<br /> <br /> <span class="style90">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</span> ในกรณีที่ผู้ป่วยมาพบแพทย์ขณะที่ข้ออักเสบหายแล้ว และตรวจไม่พบปุ่มโทฟัส การวินิจฉัยอาจทำได้ยาก แต่ก็อาจอาศัยลักษณะทางคลินิกที่ผู้ป่วยบอกเล่าและการมีระดับกรดยูริกใน เลือดสูงประกอบ แต่ความแม่นยำของการวินิจฉัยแบบนี้จะไม่ค่อยสูงมากนัก หรือแพทย์อาจพิจารณาโดยใช้เกณฑ์การวินิจฉัยโรคเกาต์ของวิทยาลัยโรคข้อและรู มาติสซั่มของประเทศสหรัฐอเมริการ่วมก็ได้ ซึ่งจำเป็นต้องอาศัยเกณฑ์ต่างๆ อย่างน้อย 6 ใน 12 ข้อ</p> &nbsp; <p><strong>การรักษา</strong><br /> <span class="style90">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</span>การรักษาโรคเกาต์ประกอบไปด้วยส่วนสำคัญ 2 ส่วน คือ<br /> <br /> <span class="style90">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</span> <strong>การรักษาด้วยวิธีการที่ไม่ใช้ยา</strong> ได้แก่ การลดน้ำหนักในรายที่น้ำหนักตัวมากเกินไป การดื่มน้ำให้มากเพื่อช่วยการขับกรดยูริกออกทางไต งดการดื่มสุราและแอลกอฮอล์ทุกชนิด ลดการรับประทานอาหารประเภทเครื่องในสัตว์ สัตว์ปีก อาหารทะเล เป็นต้น (ไม่จำเป็นต้องงด เนื่องจากมีการศึกษาที่พบว่า การรับประทานอาหารที่ไม่มีสารพิวรีนเลยทำให้ระดับกรดยูริกในร่างกายลดลง เพียง 1.0 มิลลิกรัม/เดซิลิตร เท่านั้น)<br /> การรักษาด้วยวิธีการใช้ยา วิธีนี้แบ่งออกได้เป็น 3 ระยะ คือ<br /> <br /> <span class="style90">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</span> - ระยะที่มีข้ออักเสบเฉียบพลัน ยาที่ใช้ได้แก่ ยาต้านอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ (ผลข้างเคียงที่สำคัญคือ การระคายกระเพาะ และกระเพาะเป็นแผลในระยะสั้น ส่วนการใช้ระยะยาวอาจทำให้ไตทำงานบกพร่อง) ยาโคลชิซีน (ผลข้างเคียงที่สำคัญคือ ท้องร่วง) และยาคอร์ติโคสเตียรอยด์ (ผลข้างเคียงระยะสั้นพบน้อย) ยาเหล่านี้จะใช้ประมาณ 5-10 วันเฉพาะช่วงที่ข้ออักเสบกำเริบ เมื่อข้อหายสงบดีก็สามารถหยุดยาได้<br /> &nbsp;</p> <span class="style90" style="line-height: 1.6em;">&nbsp; &nbsp; &nbsp;</span><span style="line-height: 1.6em;"> - ระยะให้ยาป้องกันข้ออักเสบกำเริบ อาจใช้ยาในกลุ่มที่ใช้รักษาระยะที่มีข้ออักเสบเฉียบพลัน แต่ใช้ในขนาดต่ำ ซึ่งยาคอร์ติโคสเตียรอยด์อาจมีผลข้างเคียงระยะยาวคือ กระดูกพรุน ติดเชื้อง่าย ภาวะเบาหวาน และไขมันในเลือดสูง ต้อกระจก กล้ามเนื้ออ่อนแรง เป็นต้น โดยการใช้ยาป้องกันมักให้ไปนานภายหลังจากควบคุมระดับกรดยูริกได้ดี และหากผู้ป่วยไม่มีข้ออักเสบกำเริบนานประมาณ 6 เดือน อาจพิจารณาหยุดยาได้&nbsp;</span><span style="line-height: 1.6em;">กรดยูริก การรักษาส่วนนี้มีความสำคัญที่สุดที่จะทำให้โรคหายขาดได้ เนื่องจากการให้ยาลดกรดยูริก ก็เพื่อทำให้ระดับกรดยูริกในเลือดต่ำอยู่ตลอดเวลา ทำให้ผลึกเกลือยูเรตที่สะสมตามเนื้อเยื่อต่างๆ ของร่างกายละลายออกมา (เหมือนมีผลึกน้ำตาลหรือผลึกเกลือ แล้วเอาน้ำเปล่าเปลี่ยนใส่ตลอดเวลา) โดยยาที่ลดระดับกรดยูริกมี 2 ชนิดคือ ยาเร่งการขับกรดยูริกออกทางไต (ได้แก่ ยาโพรเบเนซิด ยาเบนซ์โบรมาโรน และยาซัลฟิลพัยราโซน) ส่วนยายับยั้งการสร้างกรดยูริก ได้แก่ ยาอะโลพิวรินอล ซึ่งการให้ยาลดกรดยูริกจะต้องปรับขนาดยาสม่ำเสมอ เพื่อให้ระดับกรดยูริกในเลือดต่ำกว่า 6.0 มิลลิกรัม/เดซิลิตรในรายที่ไม่มีปุ่มโทฟัส และต่ำกว่า 5.0 มิลลิกรัม/เดซิลิตรในรายที่มีปุ่มโทฟัส โดยในรายที่ไม่มีปุ่มโทฟัส ผู้ป่วยควรได้รับยาลดกรดยูริกไปนานประมาณ 5 ปี ส่วนรายที่มีปุ่มโทฟัส ควรได้รับยาต่อภายหลังจากปุ่มโทฟัสหายไปแล้วอีก 5 ปี ทั้งนี้คาดว่าน่าจะละลายผลึกเกลือยูเรตออกไปได้มากพอ ส่วนในรายที่มีนิ่วในทางเดินปัสสาวะควรได้รับยาลดกรดยูริกรับประทานตลอด ชีวิต</span> <p>การใช้ยาในการรักษาแต่ละช่วงจะขึ้นอยู่กับตัวผู้ป่วยเอง และโรคร่วมที่มี ซึ่งแพทย์จะเป็นผู้พิจารณาเลือกยาที่เหมาะสมสำหรับผู้ป่วยแต่ละราย</p> <p><span class="style90">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</span>ดังได้กล่าว แล้วว่า โรคเกาต์เป็นโรคที่รักษาให้หายขาดได้ แต่การรักษาที่ไม่ถูกทางจะทำให้โรคมีความรุนแรง ที่เข้าสู่ระยะที่มีปุ่มก้อน ข้อ และกระดูกถูกทำลาย รวมทั้งเกิดภาวะแทรกซ้อนทางระบบไต หัวใจ และหลอดเลือด ดังนั้น การตั้งใจให้ความร่วมมือในการรักษาและรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอ จะช่วยป้องกันภาวะแทรกซ้อนต่างๆได้ รวมทั้งไม่มีอาการข้ออักเสบกำเริบอยู่บ่อยๆ ซึ่งจะทำให้คุณภาพชีวิตดีขึ้นด้วย</p> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" height="400" width="720"> <tbody> <tr> <td bgcolor="#FFFFFF" colspan="9" rowspan="10"> <table border="0" width="100%"> <tbody> <tr> <td bordercolor="1" class="style89" valign="top" width="86%"> <p><strong>ปฏิบัติตัวไม่ให้โรคเกาต์กำเริบ</strong><br /> <span class="style90">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</span>ผู้ป่วยมีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งที่จะช่วยให้ผลการรักษาโรคเกาต์เป็นไปด้วยดี โดยผู้ป่วยสามารถมีส่วนช่วยได้ดังนี้<br /> <span class="style90">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</span> - สอบถาม และทำความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเกาต์ และวิธีการปฏิบัติตัวจากแพทย์ เพื่อการปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง<br /> <span class="style90">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</span> - รับประทานยาตามคำแนะนำอย่างสม่ำเสมอ หากมีอาการผิดปกติ หรือมีผลข้างเคียงจากการรับประทานยาให้รีบปรึกษาแพทย์<br /> <span class="style90">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</span>- ไม่ควรหยุดยา ปรับขนาดยา หรือซื้อยารับประทานเอง เพราะนอกจากจะเสี่ยงต่อการแพ้ยาแล้ว ยังอาจจะทำให้ควบคุมโรคได้ไม่ดี โรคอาจกำเริบได้<br /> <span class="style90">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</span>- ติดตามการรักษาอย่างสม่ำเสมอตามที่แพทย์นัด แพทย์จำเป็นต้องตรวจเลือดเพื่อดูระดับกรดยูริก และหน้าที่การทำงานของตับและไตเป็นระยะๆ รวมทั้งอาจต้องปรับเปลี่ยนยา หรือขนาดของยาตามความเหมาะสม<br /> <span class="style90">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</span>- ในกรณีที่เจ็บป่วยด้วยเรื่องอื่นหรือไปพบแพทย์ ควรนำยาที่รับประทานอยู่ไปให้แพทย์ดูด้วยทุกครั้ง<br /> <span class="style90">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</span>- รับประทานอาหารให้ถูกส่วน ครบหมู่ และเหมาะสม รวมทั้งดื่มน้ำสะอาดอย่างน้อยวันละ 3,000 มิลลิลิตร<br /> <span class="style90">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</span>- หลีกเลี่ยงการดื่มแอลกอฮอล์ เช่น สุรา เบียร์<br /> <span class="style90">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</span>- ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ และหลีกเลี่ยงการออกกำลังกายที่มีแรงกระแทกต่อข้อที่รุนแรง<br /> <span class="style90">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</span>- หลีกเลี่ยงการบีบ นวด ถู บริเวณข้อ เนื่องจากสามารถกระตุ้นให้ข้ออักเสบกำเริบได้<br /> <span class="style90">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</span>- ไม่ควรเริ่มรับประทานยาลดกรดยูริกเมื่อมีข้ออักเสบกำเริบอยู่ (ในรายที่ยังไม่ได้รับประทานยาลดกรดยูริก) และไม่ควรหยุดรับประทานยาลดกรดยูริกเมื่อมีข้ออักเสบกำเริบ (ในรายที่กำลังรับประทานยาลดกรดยูริกอยู่) เนื่องจากการกระทำทั้ง 2 อย่างจะทำให้มีการแกว่งของระดับกรดยูริกในเลือด ซึ่งจะกระตุ้นให้ข้ออักเสบกำเริบเป็นรุนแรงขึ้นหรือนานขึ้น &nbsp; &nbsp;&nbsp;<br /> <strong>*****&nbsp;</strong><strong style="line-height: 1.6em;">รู้หรือไม่... โรคเกาต์รักษาได้หายขาด &nbsp;- ข้อมูล *****</strong><br /> <span style="line-height: 1.6em;">ศ.นพ.วรวิทย์ เลาห์เรณู อายุรแพทย์ผู้เชี่ยวชาญโรคข้อและรูมาติสซั่ม<br /> &nbsp;&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;<strong>***********</strong></span></p> <p>&nbsp;</p> <p class="style90">&nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;</p> </td> </tr> <tr> <td height="24" valign="top">&nbsp;</td> <td bordercolor="1" class="style89" valign="top">&nbsp;</td> </tr> <tr> <td height="24" valign="top">&nbsp;</td> <td bordercolor="1" class="style89" valign="top">&nbsp;</td> </tr> </tbody> </table> </td> </tr> <tr> <td><img height="24" src="file:///D%7C/IT_Backup/Backup_for_Web/HealthToDay/HT_No.57/images/spacer.gif" width="1" /></td> </tr> <tr> <td><img height="52" src="file:///D%7C/IT_Backup/Backup_for_Web/HealthToDay/HT_No.57/images/spacer.gif" width="1" /></td> </tr> <tr> <td><img height="212" src="file:///D%7C/IT_Backup/Backup_for_Web/HealthToDay/HT_No.57/images/spacer.gif" width="1" /></td> </tr> </tbody> </table> Thu, 17 Jul 2014 23:15:00 +0700 * ธรรมมงคล ชีวิต * เมื่อเข้าใจ"ธรรมะ"มากขึ้น จะเข้าใจในตัวเองมากขึ้น และจะเข้าใจคนรอบข้างมากขึ้น http://f-going.myreadyweb.com/product/detail-184153.html <img alt="" src="http://f-going.myreadyweb.com/storage_upload/9/43019/uploads/images/banner728x90.gif" style="width: 728px; height: 90px; float: left;" /> Fri, 15 Nov 2013 08:27:00 +0700 * ศิลปอีสาน คำสอย * สอย สอย นักแตบแต้ บินข่วมซานดัง สิตายหรือยังกะให้ได่ผัวอีสานเด้อจร้า นี่กะวาสอย http://f-going.myreadyweb.com/product/detail-184144.html <img alt="" src="http://f-going.myreadyweb.com/storage_upload/9/43019/uploads/images/banner728x90.gif" style="width: 728px; height: 90px; float: left;" /><img alt="" src="http://f-going.myreadyweb.com/storage_upload/9/43019/uploads/images/33.jpg" style="width: 728px; height: 100px; float: left;" /> Fri, 15 Nov 2013 07:41:00 +0700 *ผญ้าอีสาน* http://f-going.myreadyweb.com/product/detail-184151.html Thu, 31 Oct 2013 08:17:00 +0700 *คำคม โดนใจ* http://f-going.myreadyweb.com/product/detail-184141.html Thu, 31 Oct 2013 07:50:00 +0700 ชุมชนอีสาน http://f-going.myreadyweb.com/product/detail-184142.html Thu, 31 Oct 2013 07:07:00 +0700 จีเมล์ สมัครใช้จีเมล์ ทีนี้ เซียนสปอร์ต108 http://f-going.myreadyweb.com/product/detail-150190.html <h2 style="margin: 0px 0px 0.46em; padding: 0px; border: 0px; color: rgb(85, 85, 85); font-size: 1.54em; line-height: 24px; font-family: arial, helvetica, sans-serif;">บัญชี Google ของคุณมีมากกว่า Gmail</h2> <h3><span style="color:rgb(153, 153, 153); font-family:arial,helvetica,sans-serif; font-size:13px; line-height:19px">พูดคุย แชท แบ่งปัน กำหนดเวลา จัดเก็บ จัดระเบียบ ทำงานร่วมกัน ค้นหา และสร้าง ใช้ผลิตภัณฑ์ของ Google ตั้งแต่ Gmail ไปจนถึง Google+ และ YouTube ดูประวัติการค้นหาของคุณ ทำทั้งหมดนี้โดยใช้ชื่อผู้ใช้และรหัสผ่านเดียว ข้อมูลทั้งหมดจะได้รับการสำรองไว้ตลอดเวลาและหาเจอได้ง่ายดายที่ (ลองเดาสิ) Google.com&nbsp;</span><a href="https://accounts.google.com/SignUp?service=mail&amp;continue=https%3A%2F%2Fmail.google.com%2Fmail%2F%3Ftab%3Dwm&amp;ltmpl=default">https://accounts.google.com/SignUp?service=mail&amp;continue=https%3A%2F%2Fmail.google.com%2Fmail%2F%3Ftab%3Dwm&amp;ltmpl=default</a><a href="https://accounts.google.com/SignUp?service=mail&amp;continue=https%3A%2F%2Fmail.google.com%2Fmail%2F%3Ftab%3Dwm&amp;ltmpl=default">https://accounts.google.com/SignUp?</a></h3> <div style="page-break-after:always"><span style="display:none">&nbsp;</span></div> <h3><a href="https://accounts.google.com/SignUp?service=mail&amp;continue=https%3A%2F%2Fmail.google.com%2Fmail%2F%3Ftab%3Dwm&amp;ltmpl=default"><img alt="" src="http://f-going.myreadyweb.com/storage_upload/9/43019/uploads/images/gmail_mpu_sms_th-250x250.gif" style="float:left; height:250px; width:250px" /></a></h3> Thu, 31 Oct 2013 07:07:00 +0700 Hotmail โฉมใหม่เปลี่ยนชื่อเป็น Newmail > Hotmail ฮอตเมล์ สมัครใช้ฮอตเมล์ ที่นี้ เซียนสปอร์ต108 http://f-going.myreadyweb.com/product/detail-150191.html <h2>สมัครใช้ คลิ๊กที่นี้&gt;<a href="https://signup.live.com/signup.aspx?wa=wsignin1.0&amp;rpsnv=11&amp;ct=1366126341&amp;rver=6.1.6206.0&amp;wp=MBI_SSL_SHARED&amp;wreply=https%3a%2f%2fmail.live.com%2fdefault.aspx%3frru%3dhome%26livecom%3d1&amp;id=64855&amp;cbcxt=mai&amp;bk=1366126343&amp;uiflavor=web&amp;mkt=TH-TH&amp;lc=1054&amp;lic=1">https://signup.live.com/signup.aspx?wa=wsignin1.0&amp;rpsnv=11&amp;ct=1366126341&amp;rver=6.1.6206.0&amp;wp=MB</a><strong>&nbsp;Hotmail โฉมใหม่เปลี่ยนชื่อเป็น Newmail</strong></h2> <p>หลังจากผ่านร้อนผ่านหนาวมากว่า 15 ปี ฮอตเมล์ (Hotmail) กำลังจะเกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่อีกแล้ว โดยไม่เพียงแต่หน้าตาของอินเตอร์เฟซที่ยกเครื่องกันมาตลอด ล่าสุดมีรายงานว่า ฮอตเมล์ใหม่ถอดด้าม หรือ&nbsp;<strong>New Hotmail</strong>&nbsp;จะเปลี่ยนชื่อให้เป็น<strong>&nbsp;NewMail</strong>&nbsp;ด้วย (เอ่อ...แบบ&nbsp;<strong>New iPad</strong>&nbsp;???)<span style="font-size:13px">&nbsp;รายงาน ข่าวจากเว็บไซต์ Liveside ระบุว่า Hotmail กำลังยกเครื่องครั้งใหญ่ต้อนรับระบบปฏิบัติการ Windows 8 โดยมีภาพของอินเตอร์เฟซใหม่ที่หลุดออกมาว่อนไปทั่วเน็ต&nbsp;ซึ่งดีไซน์ใหม่ของ Hotmail จะเห็นได้ชัดว่าเป็นสไตล์เดียวกันกับ Metro UI ทีใช้บน Windows 8&nbsp;แต่เหนืออื่นใดก็คือ อินเตอร์เฟซใหม่ของมันมาพร้อมกับชื่อเรียกใหม่ของบริการด้วยนั่นคือ โดยผู้ใช้ Hotmail กำลังจะได้ใช้บริการใหม่ภายใต้ชื่อว่า NewMail แทนบริการเดิม นอกจากอินเตอร์เฟซ และชื่อใหม่แล้ว ไมโครซอฟท์ยังตั้งใจปัดฝุ่นให้ NewMail เป็นบริการที่ไร้อีเมล์ขยะอีกด้วย</span><span style="font-size:13px">&nbsp;หาก เป็นไปตามรายงานข่าวที่ใช้หลักฐานจากภาพหลุดจริง การเปลี่ยนชื่อจาก Hotmail ที่สั่งสมบารมีมากว่า 15 ปีต้องถือได้ว่าเป็นความกล้ามากๆ อย่างไรก็ตาม แค่การเปลี่ยนชื่อเป็น Newmail เพื่อลบภาพเก่าเพียงอย่างเดียวคงไม่ได้ แต่หากไมโครซอฟท์คงต้องการเปลี่ยนใหญ่ทั้งกระบวนทัพ เพื่่อต้อนรับ Windows 8 ที่จะออกมาในช่วงปลายปีนี้&nbsp; ซึ่งอินเตอร์เฟซที่เหมือนกันหมดตั้งแต่เดสก์ทอป โน้ตบุ๊ก&nbsp;</span><a href="http://hitech.sanook.com/1058582/" style="font-size: 13px; padding: 0px; margin: 0px; list-style-type: none; color: rgb(40, 96, 154); text-decoration: none; outline-style: none;" target="_blank" title="แท็บเล็ต">แท็บเล็ต</a><span style="font-size:13px">&nbsp;และสมาร์ทโฟน เป็นกลยุทธ์ที่ไมโครซอฟท์เชื่อว่า จะทำให้ผู้ใช้เปลี่ยนใจกลับมาใช้บริการต่างๆ ตลอดจนผลิตภัณฑ์ของไมโครซอฟท์&nbsp;ดังจะสังเกตเห็นในหน้าจอของ Newmail ที่มีอินเตอร์เฟซ Metro UI ชัดเจนมากๆ</span><span style="font-size:13px">&nbsp;ยัง ไม่หมดเพียงเท่านี้ เพราะตามรายงานข่าวยังเปิดเผยอีกด้วยว่า Newmail จะเชื่อมการทำงานกับพันธมิตรอย่าง Twitter และ Facebook ซึ่งจะทำให้ผู้ใช้สามารถสื่อสารกับเพื่อนสนิทมิตรสหายได้ทุกทางในที่เดียว ตลอดจนการใช้ข้อมูลการติดต่อเดี่ยวกันผ่านไปบนเครือข่ายสังคมออนไลน์ (ล็อกอิน Newmail ครั้งเดียวก็สามารถใช้บริการโซเชียลเน็ตเวิร์กอื่นๆ ได้เลย) ซึ่งหาก Newmail พบคำตอบของการเชื่อมโลกใบเก่าอย่างบริการอีเมล์เข้ากับโลกใหม่ของสังคมออ นไลน์ได้เป็นผลสำเร็จ การยกเครื่องครั้งใหญ่นี้ก็ถือว่าคุ้มค่ามากทีเดียว นับเป็นการเดิมพันครั้งใหญ่ของไมโครซอฟท์จริงๆ</span><img alt="" class="_rw _s0 img" src="http://profile.ak.fbcdn.net/hprofile-ak-ash3/174871_131047376949046_3790149_q.jpg" style="color:rgb(51, 51, 51); font-family:sans-serif,arial,verdana,trebuchet ms; font-size:13px; line-height:1.6em" /></p> <div style="page-break-after:always"><span style="display: none;">&nbsp;</span></div> <h2>&nbsp;</h2> Thu, 31 Oct 2013 07:07:00 +0700